“ผู้นำขบวนการเขียนภาพแนว (Abstract-expressionism) แต่ตลอดชีวิต พอลล็อค พานพบแต่ความผิดหวัง”
แจ็คสัน พอลล็อค เกิดวันที่ 28 มกราคม 2455 เมืองโคดี รัฐไวโอมิ่ง สหรัฐอเมริกา ในปี 1912 ได้เข้ามาร่ำเรียนศิลปะที่ Maual Art High Scool ในลอสแองเจลิส และศึกษาต่อที่สถาบัน Art Students League ในนิวยอรค์
แจ็คสัน พอลล็อค เกิดวันที่ 28 มกราคม 2455 เมืองโคดี รัฐไวโอมิ่ง สหรัฐอเมริกา ในปี 1912 ได้เข้ามาร่ำเรียนศิลปะที่ Maual Art High Scool ในลอสแองเจลิส และศึกษาต่อที่สถาบัน Art Students League ในนิวยอรค์
พอลล็อค เป็นคนขี้โมโห อารมณ์ร้อน และไม่อดทนต่อคำวิพากษ์วิจารณ์ โดยครั้งนึง จิม สวีนีย์ แสดงความคิดเห็นไว้ในบทความนึงว่า พอลล็อคเป็นคนไม่มีหลักเกณฑ์ในการสร้างงานศิลปะ เขาโมโหมากจนถึงกับวาดภาพขึ้นมา ใช้ชื่อภาพว่า Search for a Symbol แล้วหิ้วภาพนี้ไปพบ สวีนีย์ แล้วพูดว่า “ผมอยากให้คุณเห็นว่าภาพถูกต้องตามหลักเกณฑ์เป็นอย่างไร”
ด้วยความที่ พอลล็อคเป็นคนขี้โมโห อารมณ์ร้อน และติดเหล้า งานศิลปะที่เขาสร้างสรรค์ขึ้นมาในแนวนามธรรมจึงไม่ประสบความสำเร็จ เมื่อผลงานไม่ประสบความสำเร็จ และไม่ได้รับการยอมรับ เขาจึงเก็บตัวเครียดและกินเหล้าอยู่เสมอ ในปี 1941 พอลล็อคตกอยู่ในสภาพย่ำแย่สุด ติดเหล้าหนักงอมแงม เขาได้อาศัยอยู่กับ แซนดี้(โรเบิร์ต นอตต์)พี่ชาย จนภรรยาของแซนดี้ไม่พอใจ ต้องพาแซนดี้และแม่ย้ายหนีไป
จุดเปลี่ยนของชีวิตพอลล็อค คือการได้พบกับ ลี แครสเนอร์(มาร์เซีย เกย์ ฮาร์เดน) จิตรกรหญิงผู้เชื่อมั่นในความสามารถของพอลล็อค ทั้งสองได้แต่งงานกัน แต่มีข้อสัญญาตกลงกันว่า พอลล็อคจะต้องเลิกดื่มเหล้า และหันมาสร้างงานศิลปะอย่างจริงจัง โดยการหนุนหลังของแครสเนอร์
ผลงานของพอลล็อคจึงไปเข้าตา เพ็กกี้ กุกเกนไฮน์(เอมี่ เมดิแกน) เจ้าของแกลเลอรี่ใหญ่ในนิวยอรค์ ยอมจัดแสดงงานเดี่ยวให้พอลล็อค แม้จะขายภาพไม่ได้เลย แต่พอลล็อคก็เริ่มเป็นที่สนใจในวงการศิลปะ และเป็นจุดเริ่มต้นให้เขาได้ค้นพบวิธีการสร้างงานรูปแบบใหม่
เมื่อต้องไปวาดผนังบ้านพักของกุกเกนไฮน์เป็นค่าตอบแทนตามสัญญา อาการเครียดและอยากเก็บตัวเริ่มเกิดขึ้นกับพอลล็อคอีกครั้ง แครสเนอร์ คอยให้กำลังใจพอลล็อคอยู่เสมอ ภายหลังทั้งคู่จึงตัดสินใจหลบความวุ่นวายในเมือง ย้ายไปหาความสงบในชนบท และใช้โรงนาเป็นสตูดิโอสร้างสรรค์งานศิลปะ ที่ลอง ไอส์แลนด์ ชนบทอันสงบเงียบและห่างไกลผู้คน
พอลล็อคมีเวลาเต็มที่ สำหรับสร้างสรรค์งานศิลปะวันหนึ่งพอลล็อคค้นพบเทคนิคการเขียนภาพแบบใหม่โดยบังเอิญ ขณะกระป๋องสีล้มใส่ภาพที่เขากำลังเขียน ต่อมาเรียกเทคนิคแบบนี้ว่า “กัมมันตจิตรกรรม (Action Panting)”หรือ เอ็กเพรสชั่นนิสม์เชิงนามธรรม(Abstract Expressionnist)ซึ่งเป็นการสร้างงานศิลปะโดยการหยด สาด หรือ เทสีลงบนผ้าใบ โดยไม่ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบศิลป์ หรือ แบบแผนใดๆ แต่ปล่อยให้จิตสำนึกของศิลปินเป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปะชิ้นนั้น แต่พอลล็อคยืนยันว่าผลงานศิลปะของเขาไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุบังเอิญ เขาสามารถควบคุมมันได้
ในระยะแรกเขาได้รับอิทธิพลจากศิลปะแนวเหนือจริง (Surrealism) ศิลปะของชาวอเมริกันพื้นเมือง (Indian sandpainting) รวมทั้งตัวอักษรจีน จนในที่สุดก็ค้นพบเทคนิคส่วนตัวโดยผสมผสานความเรียบง่ายเข้ากับศิลปะบริสุทธิ์ ผลงานชิ้นสำคัญคือ “No. 5, 1948” ซึ่งมีราคาสูงถึง 140 ล้านเหรียญสหรัฐฯ นับเป็นภาพจิตรกรรมที่มีราคาสูงที่สุดในโลก เขาเคยกล่าวไว้ว่า “กระบวนการทำงานศิลปะสำคัญกว่าผลสำเร็จขั้นสุดท้าย”
รูปแบบงานของพอลล็อคเป็นแบบเฉพาะตัว ทำให้เขากลายเป็นศิลปินที่มีชิอเสียง มีเงินทอง มีความสุข และชีวิตประจำวันที่เปลี่ยนแปลงไป แต่ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ทำให้พอลล็อครู้สึกหวั่นไหวและหวาดกลัว เขาเริ่มหันไปเที่ยวเตร่และติดเหล้างอมแงมอีกครั้ง ภายใต้ความเศร้าเสียใจที่ไม่สามารถมีลูกได้ ช่วงนึงเขามองว่าความรักที่แครสเนอร์มีให้ต่อเขา เป็นความรักที่ยุ่งยากซับซ้อน เขาทิ้งแครสเนอร์ไปมีภรรยาใหม่ แต่ความทุกข์ระทมในจิตใต้สำนึก ก็ไม่เคยจางหาย
แจ็กสัน พอลล็อก (Paul Jackson Pollock) จิตรกรชาวอเมริกัน ได้ถึงแก่กรรมในอุบัติเหตุทางรถยนต์ ขณะมีอายุแค่ 44 ปี
เรื่องราวของพอลล็อค ถูกนำมาสร้างเป็นหนังสารคดีถึง 2 ครั้งในครั้งแรกคือ JACKSON POLLOK ปี 1987 โดยผู้กำกับ คิม อีแวนส์ อีกเรื่องหนึ่งชื่อ Jackson Pollok : Love and death on Long Island ปี 1999 โดย เทเรซ่า กริฟฟิธส์ เป็นประวัติชีวิตและผลงาน รวมทั้งภาพการทำงานของพอลล็อค นอกจากนี้ยังมีบทสัมภาษณ์ของ ลี แครสเนอร์ และเพื่อนๆ ศิลปินอีกด้วย หนังเรื่องนี้ได้รับความนิยมมากมายโดยเฉพาะ ถึงกับทำให้ผู้ชมติดตราตรึงใจ กับ เอ็ด แฮร์ริส ผู้รับบทแสดงเป็น แจ็คสัน พอลล็อค จนหลายคนให้ทัศนะคติว่า สองคนนี้ช่างมีทุกสิ่งอย่างที่คล้ายกันเหลือเกิน
เรื่องราวของพอลล็อค ถูกนำมาสร้างเป็นหนังสารคดีถึง 2 ครั้งในครั้งแรกคือ JACKSON POLLOK ปี 1987 โดยผู้กำกับ คิม อีแวนส์ อีกเรื่องหนึ่งชื่อ Jackson Pollok : Love and death on Long Island ปี 1999 โดย เทเรซ่า กริฟฟิธส์ เป็นประวัติชีวิตและผลงาน รวมทั้งภาพการทำงานของพอลล็อค นอกจากนี้ยังมีบทสัมภาษณ์ของ ลี แครสเนอร์ และเพื่อนๆ ศิลปินอีกด้วย หนังเรื่องนี้ได้รับความนิยมมากมายโดยเฉพาะ ถึงกับทำให้ผู้ชมติดตราตรึงใจ กับ เอ็ด แฮร์ริส ผู้รับบทแสดงเป็น แจ็คสัน พอลล็อค จนหลายคนให้ทัศนะคติว่า สองคนนี้ช่างมีทุกสิ่งอย่างที่คล้ายกันเหลือเกิน
ประวัติโดยย่อ
1912-1929เกิดวันที่ 28 มกราคม 1912 ที่เมือง Cody, Wioming, USA เป็นลูกคนสุดท้อง
จากจำนวนพี่น้อง 5 คน เข้าเรียน High School ที่ Losangles's Manual Arts High school
1912-1929เกิดวันที่ 28 มกราคม 1912 ที่เมือง Cody, Wioming, USA เป็นลูกคนสุดท้อง
จากจำนวนพี่น้อง 5 คน เข้าเรียน High School ที่ Losangles's Manual Arts High school
1930ย้ายไปมหานคร New York เข้าเรียนที่ The Art Students leagueภายใต้การสอนของ Thomas Hart Benton ผู้ซึ่งมีอิทธิพลต่อการวาดภาพของเขาในขณะนั้น1936
เข้าทำงานที่สตูดิโอของ Siqueiros ซึ่งเป็นศิลปินชาวเม็กซิกัน ซึ่งทำให้เขาได้รับอิทธิพล
ในการเขียนภาพในช่วงนี้
เข้าทำงานที่สตูดิโอของ Siqueiros ซึ่งเป็นศิลปินชาวเม็กซิกัน ซึ่งทำให้เขาได้รับอิทธิพล
ในการเขียนภาพในช่วงนี้
1935-1943เข้าทำงานที่ The WPA Federal Artในปี
1935-1943 ซึ่งที่นั่นยั
ได้แสดงผลงานส่วนตัวเป็นครั้งแรก ที่ The Peggy Guggenheim ในปี 1943 ในช่วงปี
1935-1943 ซึ่งที่นั่นยั
ได้แสดงผลงานส่วนตัวเป็นครั้งแรก ที่ The Peggy Guggenheim ในปี 1943 ในช่วงปี
1938-1944เขาได้เข้ารับการรักษาโรคพิษสุราเรื้อรัง และได้ศึกษาผลงานและทฤษฎีของ Carl Jung ทำให้เกิดอิทธิพล
กับงานของเขา ซึ่งงานของเขาจะแฝงไปด้วยความสงสัย และปริศนาต่างๆ
1945-1950ในเดือนตุลาคม เขาแต่งงานกับ Lee Krasner และในเดือนพฤศจิกายนได้ย้ายครอบครัวไปที่เมือง
Spring, Long Island, New York งเป็นสตูดิโอของเขาด้วย ผลงานของเขาในช่วงนี้
เป็นงานซึ่งเกิดจากการสะบัดสี,การป้ายสี,การหยดสี รวมถึงการราดสีลงบนผืนผ้าใบซึ่งขึงบนผนังหรือพื้น
โดยที่เขาสามารถเดินรอบๆ ผืนผ้านี้เพื่อทำการวาดได้ 1951-1955 งานของเขาในช่วงนี้ใช้สีมืดๆ
บ่อยครั้งที่เขาใช้สีดำเพียงสีเดียว งานของเขาเป็นที่ต้องการของนักสะสมศิลปะเป็นอย่างมาก
Spring, Long Island, New York งเป็นสตูดิโอของเขาด้วย ผลงานของเขาในช่วงนี้
เป็นงานซึ่งเกิดจากการสะบัดสี,การป้ายสี,การหยดสี รวมถึงการราดสีลงบนผืนผ้าใบซึ่งขึงบนผนังหรือพื้น
โดยที่เขาสามารถเดินรอบๆ ผืนผ้านี้เพื่อทำการวาดได้ 1951-1955 งานของเขาในช่วงนี้ใช้สีมืดๆ
บ่อยครั้งที่เขาใช้สีดำเพียงสีเดียว งานของเขาเป็นที่ต้องการของนักสะสมศิลปะเป็นอย่างมาก
1956เขาเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุรถยนต์ที่เมือง Spring, Long Island, New York ในเดือนสิงหาคม โดยมีอายุ 44 ปี
ผลงานที่สำคัญ(1942) "Male and Female" Philadelphia Museum of Art
(1943) "Moon-Woman Cuts the Circle"
(1942) "Stenographic Figure" The Museum of Modern Art
(1943) "The She-Wolf" The Museum of Modern Art
(1943) "Blue (Moby Dick)" Ohara Museum of Art
(1946) "Eyes in the Heat" Peggy Guggenheim Collection, Venice
(1946) "The Key" The Art Institute of Chicago
(1946) "The Tea Cup" Collection Frieder Burda
(1946) "Shimmering Substance", from "The Sounds In The Grass" The Museum of Modern Art
(1947) "Full Fathom Five" The Museum of Modern Art
(1947) "Cathedral"
(1947) "Enchanted Forest" Peggy Guggenheim Collection, Venice
(1948) "Painting"
(1948) "Number 5" (4ft x 8ft)
(1948) "Number 8"
(1948) "Summertime: Number 9A" Tate Modern
(1949) "Number 3"
(1950) "Number 1, 1950 (Lavender Mist)" National Gallery of Art
(1950) "Autumn Rhythm: No.30, 1950"
(1950) "One: No. 31, 1950" at the Museum of Modern Art (MoMA)
(1950) "No. 32"
(1951) "Number 7"
(1952) "Convergence" Albright-Knox Art Gallery
(1952) "Blue Poles: No. 11, 1952"
(1953) "Portrait and a Dream"
(1953) "Easter and the Totem" The Museum of Modern Art
(1953) "Ocean Greyness"
(1953) "The Deep"
(1943) "Moon-Woman Cuts the Circle"
(1942) "Stenographic Figure" The Museum of Modern Art
(1943) "The She-Wolf" The Museum of Modern Art
(1943) "Blue (Moby Dick)" Ohara Museum of Art
(1946) "Eyes in the Heat" Peggy Guggenheim Collection, Venice
(1946) "The Key" The Art Institute of Chicago
(1946) "The Tea Cup" Collection Frieder Burda
(1946) "Shimmering Substance", from "The Sounds In The Grass" The Museum of Modern Art
(1947) "Full Fathom Five" The Museum of Modern Art
(1947) "Cathedral"
(1947) "Enchanted Forest" Peggy Guggenheim Collection, Venice
(1948) "Painting"
(1948) "Number 5" (4ft x 8ft)
(1948) "Number 8"
(1948) "Summertime: Number 9A" Tate Modern
(1949) "Number 3"
(1950) "Number 1, 1950 (Lavender Mist)" National Gallery of Art
(1950) "Autumn Rhythm: No.30, 1950"
(1950) "One: No. 31, 1950" at the Museum of Modern Art (MoMA)
(1950) "No. 32"
(1951) "Number 7"
(1952) "Convergence" Albright-Knox Art Gallery
(1952) "Blue Poles: No. 11, 1952"
(1953) "Portrait and a Dream"
(1953) "Easter and the Totem" The Museum of Modern Art
(1953) "Ocean Greyness"
(1953) "The Deep"
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น