วันศุกร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2555

โรคหัด Measles


1
1

เป็นโรคติดต่อโรค มักเป็นกับเด็กเล็ก 9 เดือน- 6 ปี ติดต่อโดยทางหายใจ น้ำลายที่ออกจากปาก คอ มักจะระบาดตอนฤดูหนาวถึงฤดูร้อน
ระยะติดต่อ
ระยะติดต่อประมาณ2-4 วันก่อนเกิดผื่น และหลังเกิดผื่นแล้วยังติดต่อได้อีก 2-5 วัน
อาการ
  • ระยะฟักตัว คือจะเกิดอาการหลังได้รับเชื้อ 8-12 วัน
  • อาการนำเริ่มต้นด้วยเด็กจะมีอาการงอแง กระสับกระส่าย ปวดตามตัว น้ำมูกไหล ตาจะแดงและแพ้แสง ไอแห้งๆ มีอาการไข้สูงปวดตามตัว  ระยะที่เริ่มเป็น 2-3 วันแพทย์อาจตรวจพบผื่นแดงเล็กๆในปากเรียก Koplick'spot
  • ระยะออกผื่น หลังมีไข้ 3-4 วันจะไอมากขึ้น มีผื่น โดยผื่นขึ้นหน้าผาก และลามไปที่หน้า คอ และลำตัวในเวลา 24- 36 ชั่วโมง เมื่อผื่นขึ้นอาการปวดเมื่อจะดีขึ้น ไข้จะค่อยๆลง  ผื่นจะใช้เวลา 3 วัน ลามจากหัวถึงขา ฝ่ามือฝ่าเท้าจะไม่มีผื่น ผื่นจะเริ่มจางที่ศีรษะก่อน ผื่นจะจางใน 7-10 วัน เหลือรอยดำๆ 
กลุ่มที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
  • เด็กที่ยังไม่ฉีดวัคซีน
  • ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ เช่น HIV ได้รับยา steroid
  • นักท่องเที่ยวที่ไม่ได้ฉีดวัคซีนแล้วไปเที่ยวแหล่งระบาด
โรคแทรกซ้อน
  • ระบบหายใจ อาจเกิดได้ตั้งแต่ คออักเสบ หลอดลมอักเสบ จนถึงปอดบวม
  • ภาวะแทรกซ้อนทางหู อาจเกิดหูชั้นกลางอักเสบ
  • ภาวะแทรกซ้อนทางตา จะมีเยื่อบุตาอักเสบ จนเป็นแผลที่แก้วตา corneal ulcer
  • ภาวะแทรกซ้อนทางเดินอาหาร มีการอักเสบของลำไส้ทำให้ถ่ายเหลว
  • ภาวะแทรกซ้อนระบบส่วนกลาง อาจพบสมองอักเสบ encephalitis เป้นภาวะที่รุนแรงที่สุด ผู้ป่วยจะมีไข้สูง ปวดศีรษะ และซึมลง

วันอังคารที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2555

Maastricht island


Source: Route 66
Due to canal construction the ancient city of Maastricht now lies on an island. You can ride around that island, mostly on paved bike paths and service roads with little or no traffic.
A good place to start is the town of Kanne. From Brussels take the E40 east to the E313. Go north on the E313 to exit 32, and turn east towards Maastricht. About 9 km east of exit 32 you cross the Albert canal. Turn right towards Kanne. The town is about 3 km. Drive through the center past several pubs/restaurants. As the road starts to curve left, go straight into a dead end and park at the end on the grass. You are a few feet from the canal. The work required to built the canal is obvious here - you ride mostly through a substantial cut.
You can ride either direction. This guide goes counterclockwise (anticlockwise), starting south from Kanne.
Just south of the starting point is a bridge. Soon you are in a cut, opposite the fort of Eben Emael. In about 2.5 km you reach the end of the island and make a sharp left to a lock and then north along the Lanaye canal. The old route of the Meuse is a little further east. You ride for 2 km along a dock area and then the pavement ends. This is about at the border between Belgium and the Netherlands, and the name of the canal changes to Juliana. Cross the road to the bike path on the west side of the road, past the cement plant. Across the canal you see a branch waterway (the Meuse joining the canal) and then the entrance to a large lake used for water sports. From here north through the center of Maastricht the Juliana is actually an improved Meuse.
Maastricht waterfront at night
Source: Tim Freh
Follow the path along the road until you pass a marina. At the next intersection you can turn right to the river. 6 km north of the lock you pass the old city wall. Half a km later you reachSint-Servaasbrug (Saint Servius bridge), originally built in the 13th century. (There was also a Roman bridge here.) Part of the bridge is a newer style (and in fact is a lift bridge), built to extend the bridge when the Meuse was widened and canalized here.
If you want to explore the center, it is best done on foot. Lock up your bike near the bridge (there is a paid, guarded bicycle park on the north side of the bridge) and walk west along the pedestrian streets.
Continuing north from the bridge, in about 100 m the bicycle path ends for 500 m. Ride along the road carefully until you approach a bridge across an old harbor and join a new bike path. The bridge is across the original south end of the Zuid Willemsvaart where it joined the Meuse. (There is another, wider connection a little further north.) You then curve west along the canal before turning back north on the east side of the canal.
Continue north on the bike path. One km after the new path starts, there is a marked bike lane crossing the road. You can cross, follow the side road down to and across an old bridge, and then turn right on the west bank of the old canal. However this route is very mixed - including one section of narrow track through some woods. It is better to continue straight on the bike lane.
The old canal in this area is a village - a variety of boats adapted for living. In 600 m you pass over a bridge over the entrance to a harbor. Just past that is a bridge over a lock - the new connection between the Zuid Willemsvaart (ZWV) and the Maas. Another km brings you to the border, in a section where the canal and Maas are very close together. Where you cross the border back into Belgium the bike lane ends. You have to ride along the road for about 300 m, to a bridge over the ZWV. Cross the bridge and immediately turn right on the service road, which eventually becomes a bike path. The next 3 km are very pleasant, including a chateau on your left. Then you reach the junction with the Kanaal Briegden - Neerharen and must make a U-turn to the left. After riding south for 600 m you can cross the canal at a lock.
The east bank of the Briegden - Neerharen south of this point is mixed - it is best to cross the bridge at the lock and continue on the west bank. On the west bank, go left around the lock buildings and continue south along the Kanaal Briegden - Neerharen. (Or you can go north along the Zuid Willemsvaart by turning right.)
You have about 2.5 km of fine ride (one km of quiet road and then bike path) to the next crossing point - a bicycle bridge at Lanaken. The towpath goes under the bridge. About 400 later you approach a lock (the first since you crossed the canal at Neerharen) and a bike route junction. (Just before the lock is an old disused rail bridge. It is not safe. On 10 May 2004 an agreement was signed between Belgium and the Netherlands to rebuild and reopen this rail line between Lanaken and Maastricht. Part of the project will be the development of an industrial park.) For the Albert Canal continue straight. For the island route, make a U-turn up and back to the bridge. Cross over and turn right (south) along the road. The road goes nowhere and has little traffic except for some to the warehouses.
You stay on the road for about 1 km - past the Briegden junction with the Albert canal and a sand and gravel port. Just past the port at the first break in the fence on the west side of the road a road takes you down to a nicely paved towpath.
You now have a fine ride through the Albert canal cut for 7.9 km back to your starting point in Kanne.
After stowing your bike, check out one of Kanne's fine pubs. (April 1999)

วันศุกร์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2555

โรเบิร์ต บอยส์



โรเบิร์ต บอยส์  บิดาแห่งวิชาเคมี  (Robert Boyle – Father of Chemistry)


เกิดวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 1627 ที่เมืองมันสเตอร์ ประเทศไอร์แลนด์ (Ireland)
เสียชีวิต 30 ธันวาคม ค.ศ. 1691 ลอนดอน อังกฤษ
            บอยล์ เกิดมาในฐานะร่ำรวยเป็นชายคนสุดท้องของท่านเอิร์ลแห่งคอร์ด (Earl of Cord) ซึ่งเป็นขุนนางผู้มั่งคั่ง ฉะนั้นเขาจึงได้รัยการศึกษาที่ดี และได้รับการสนันสนุนอย่างดีจากบิดา การศึกษาเริ่มต้นจากวิทยาลัยอีตัน ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในอังกฤษ นอกจากนี้เขายังได้รับการศึกษาภาษาต่างๆ อีกเช่น อังกฤษ ละติน ฝรั่เศส กรีก ฮิบรู พออายุ 14 ปี เขาไปเรียนภาษาอิตาลี ที่ประเทศอิตาลี ทำให้เขาได้อ่านหนังสือวิททยาศาสตร์ เรื่อง “เรื่องประหลาดของนักดาราศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่” ของกาลิเลโอ นักดาราศาสตร์ชาวอิตาลี ทำให้เขามีแรงบันดาลใจ ที่อยากจะเป็นนักวิทยาศาสตร์ พอกลับมาเขาเข้าศึกษาต่อด้านวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยออกฟอร์ด และบิดาก็เสียชีวิตพร้อมมรดกมูลค่ามหาศาลไว้ให้แก่เขา หลังจบการศึกษาเขาก็เริ่มศึกษาทดลองอย่างจริงจัง งานชิ้นแรกคือเรื่อง ผลึก” หาส่วนประกอบของธาตุต่างๆ และเรื่องวัดความกดอากาศ จนสามารถพัฒนาเทอร์โมมิเตอร์ของกาลิเลโอมาใช้ปรอทแทนน้ำต่อมาศึกษาเรื่อง “ความกดอากาศ” เกี่ยวกับสภาพไร้น้ำหนัก หรือสุญญากาศ จนทำให้เขาสามารถตั้งกฎของบอยล์ (Boyle’s Law) ซึ่งกล่าวไว้ว่า “ถ้าปริมาตรก๊าซคงที่ อุณหภูมิจะคงที่ สามารถปฏิภาคกลับกันกับความดันหรือถ้า ปริมาตรของก๊าซคงที่ ความดันคงที่ อุณหภูมิก็คงจะคงที่สรุปได้ว่า ปริมาตรของก๊าชจะเพิ่ม – ลด ในอัตราส่วนทีเท่าเสมอกัน เช่นถ้าเพิ่มความกดดันขึ้น เป็น เท่า ปริมาตรของอากาศจะลดลง เท่า ถ้าเพิ่มความกดดันขึ้น เป็น เท่า ปริมาตรของอากาศจะลดลง เท่าซึ่งกฎของเขาได้รับการยอมรับมากในวงการฟิสิกส์ นอกจากนี้เขายังมีผลงานทางด้านหนังสือชื่อ The Secptical chemist ซึ่งเนื่องจะต่อต้านทฤษฎีของ อริสโตเติล เรื่องส่วนประกอบของธาตุต่างทั้งหลายในโลก

ผลงานการค้นพบ
            ตั้งกฎของบอยส์ (Boyle’s Law) ว่าด้วยเรื่องแรงดันอากาศ
            ประดิษฐ์หลอดแก้วสุญญากาศ
            ปรับปรุงเทอร์โมมิเตอร์ให้มีประสิทธิภาพ (จากกาลิเลโอ) และบาริมิเตอร์
            ค้นพบการเผาไหม้ของโลหะ

แจ็คสัน พอลล็อค


“ผู้นำขบวนการเขียนภาพแนว (Abstract-expressionism) แต่ตลอดชีวิต พอลล็อค พานพบแต่ความผิดหวัง”
แจ็คสัน พอลล็อค เกิดวันที่ 28 มกราคม 2455 เมืองโคดี  รัฐไวโอมิ่ง สหรัฐอเมริกา  ในปี 1912 ได้เข้ามาร่ำเรียนศิลปะที่ Maual Art High Scool ในลอสแองเจลิส และศึกษาต่อที่สถาบัน  Art Students  League ในนิวยอรค์
 
พอลล็อค เป็นคนขี้โมโห อารมณ์ร้อน และไม่อดทนต่อคำวิพากษ์วิจารณ์  โดยครั้งนึง จิม สวีนีย์ แสดงความคิดเห็นไว้ในบทความนึงว่า พอลล็อคเป็นคนไม่มีหลักเกณฑ์ในการสร้างงานศิลปะ  เขาโมโหมากจนถึงกับวาดภาพขึ้นมา ใช้ชื่อภาพว่า Search for a Symbol แล้วหิ้วภาพนี้ไปพบ สวีนีย์ แล้วพูดว่า “ผมอยากให้คุณเห็นว่าภาพถูกต้องตามหลักเกณฑ์เป็นอย่างไร” 
ด้วยความที่ พอลล็อคเป็นคนขี้โมโห อารมณ์ร้อน และติดเหล้า งานศิลปะที่เขาสร้างสรรค์ขึ้นมาในแนวนามธรรมจึงไม่ประสบความสำเร็จ เมื่อผลงานไม่ประสบความสำเร็จ และไม่ได้รับการยอมรับ เขาจึงเก็บตัวเครียดและกินเหล้าอยู่เสมอ ในปี 1941 พอลล็อคตกอยู่ในสภาพย่ำแย่สุด ติดเหล้าหนักงอมแงม เขาได้อาศัยอยู่กับ แซนดี้(โรเบิร์ต นอตต์)พี่ชาย จนภรรยาของแซนดี้ไม่พอใจ ต้องพาแซนดี้และแม่ย้ายหนีไป
จุดเปลี่ยนของชีวิตพอลล็อค คือการได้พบกับ ลี แครสเนอร์(มาร์เซีย เกย์  ฮาร์เดน) จิตรกรหญิงผู้เชื่อมั่นในความสามารถของพอลล็อค ทั้งสองได้แต่งงานกัน แต่มีข้อสัญญาตกลงกันว่า พอลล็อคจะต้องเลิกดื่มเหล้า และหันมาสร้างงานศิลปะอย่างจริงจัง โดยการหนุนหลังของแครสเนอร์
ผลงานของพอลล็อคจึงไปเข้าตา เพ็กกี้ กุกเกนไฮน์(เอมี่ เมดิแกน) เจ้าของแกลเลอรี่ใหญ่ในนิวยอรค์ ยอมจัดแสดงงานเดี่ยวให้พอลล็อค แม้จะขายภาพไม่ได้เลย แต่พอลล็อคก็เริ่มเป็นที่สนใจในวงการศิลปะ และเป็นจุดเริ่มต้นให้เขาได้ค้นพบวิธีการสร้างงานรูปแบบใหม่
เมื่อต้องไปวาดผนังบ้านพักของกุกเกนไฮน์เป็นค่าตอบแทนตามสัญญา อาการเครียดและอยากเก็บตัวเริ่มเกิดขึ้นกับพอลล็อคอีกครั้ง แครสเนอร์ คอยให้กำลังใจพอลล็อคอยู่เสมอ ภายหลังทั้งคู่จึงตัดสินใจหลบความวุ่นวายในเมือง ย้ายไปหาความสงบในชนบท และใช้โรงนาเป็นสตูดิโอสร้างสรรค์งานศิลปะ ที่ลอง ไอส์แลนด์ ชนบทอันสงบเงียบและห่างไกลผู้คน
พอลล็อคมีเวลาเต็มที่ สำหรับสร้างสรรค์งานศิลปะวันหนึ่งพอลล็อคค้นพบเทคนิคการเขียนภาพแบบใหม่โดยบังเอิญ ขณะกระป๋องสีล้มใส่ภาพที่เขากำลังเขียน ต่อมาเรียกเทคนิคแบบนี้ว่า “กัมมันตจิตรกรรม (Action Panting)”หรือ เอ็กเพรสชั่นนิสม์เชิงนามธรรม(Abstract Expressionnist)ซึ่งเป็นการสร้างงานศิลปะโดยการหยด  สาด หรือ เทสีลงบนผ้าใบ โดยไม่ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบศิลป์ หรือ แบบแผนใดๆ แต่ปล่อยให้จิตสำนึกของศิลปินเป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปะชิ้นนั้น แต่พอลล็อคยืนยันว่าผลงานศิลปะของเขาไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเหตุบังเอิญ เขาสามารถควบคุมมันได้

 
ในระยะแรกเขาได้รับอิทธิพลจากศิลปะแนวเหนือจริง (Surrealism) ศิลปะของชาวอเมริกันพื้นเมือง (Indian sandpainting) รวมทั้งตัวอักษรจีน จนในที่สุดก็ค้นพบเทคนิคส่วนตัวโดยผสมผสานความเรียบง่ายเข้ากับศิลปะบริสุทธิ์ ผลงานชิ้นสำคัญคือ “No. 5, 1948” ซึ่งมีราคาสูงถึง 140 ล้านเหรียญสหรัฐฯ นับเป็นภาพจิตรกรรมที่มีราคาสูงที่สุดในโลก เขาเคยกล่าวไว้ว่า “กระบวนการทำงานศิลปะสำคัญกว่าผลสำเร็จขั้นสุดท้าย”
รูปแบบงานของพอลล็อคเป็นแบบเฉพาะตัว ทำให้เขากลายเป็นศิลปินที่มีชิอเสียง มีเงินทอง มีความสุข และชีวิตประจำวันที่เปลี่ยนแปลงไป แต่ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ ทำให้พอลล็อครู้สึกหวั่นไหวและหวาดกลัว เขาเริ่มหันไปเที่ยวเตร่และติดเหล้างอมแงมอีกครั้ง ภายใต้ความเศร้าเสียใจที่ไม่สามารถมีลูกได้  ช่วงนึงเขามองว่าความรักที่แครสเนอร์มีให้ต่อเขา เป็นความรักที่ยุ่งยากซับซ้อน เขาทิ้งแครสเนอร์ไปมีภรรยาใหม่ แต่ความทุกข์ระทมในจิตใต้สำนึก ก็ไม่เคยจางหาย
แจ็กสัน พอลล็อก (Paul Jackson Pollock) จิตรกรชาวอเมริกัน ได้ถึงแก่กรรมในอุบัติเหตุทางรถยนต์ ขณะมีอายุแค่ 44 ปี
เรื่องราวของพอลล็อค ถูกนำมาสร้างเป็นหนังสารคดีถึง 2 ครั้งในครั้งแรกคือ JACKSON  POLLOK ปี 1987 โดยผู้กำกับ คิม อีแวนส์ อีกเรื่องหนึ่งชื่อ Jackson Pollok : Love and death on Long Island ปี 1999 โดย เทเรซ่า กริฟฟิธส์ เป็นประวัติชีวิตและผลงาน รวมทั้งภาพการทำงานของพอลล็อค นอกจากนี้ยังมีบทสัมภาษณ์ของ ลี แครสเนอร์ และเพื่อนๆ ศิลปินอีกด้วย หนังเรื่องนี้ได้รับความนิยมมากมายโดยเฉพาะ ถึงกับทำให้ผู้ชมติดตราตรึงใจ กับ เอ็ด แฮร์ริส  ผู้รับบทแสดงเป็น แจ็คสัน พอลล็อค จนหลายคนให้ทัศนะคติว่า สองคนนี้ช่างมีทุกสิ่งอย่างที่คล้ายกันเหลือเกิน
ประวัติโดยย่อ
1912-1929
เกิดวันที่ 28 มกราคม 1912 ที่เมือง Cody, Wioming, USA เป็นลูกคนสุดท้อง
จากจำนวนพี่น้อง 5 คน เข้าเรียน High School ที่ Losangles's Manual Arts High school
1930ย้ายไปมหานคร New York เข้าเรียนที่ The Art Students leagueภายใต้การสอนของ Thomas Hart Benton ผู้ซึ่งมีอิทธิพลต่อการวาดภาพของเขาในขณะนั้น1936
เข้าทำงานที่สตูดิโอของ Siqueiros ซึ่งเป็นศิลปินชาวเม็กซิกัน ซึ่งทำให้เขาได้รับอิทธิพล
ในการเขียนภาพในช่วงนี้
1935-1943เข้าทำงานที่ The WPA Federal Artในปี
1935-1943 ซึ่งที่นั่นยั
ได้แสดงผลงานส่วนตัวเป็นครั้งแรก ที่ The Peggy Guggenheim ในปี 1943 ในช่วงปี

1938-1944เขาได้เข้ารับการรักษาโรคพิษสุราเรื้อรัง และได้ศึกษาผลงานและทฤษฎีของ Carl Jung ทำให้เกิดอิทธิพล
กับงานของเขา ซึ่งงานของเขาจะแฝงไปด้วยความสงสัย และปริศนาต่างๆ
1945-1950ในเดือนตุลาคม เขาแต่งงานกับ Lee Krasner และในเดือนพฤศจิกายนได้ย้ายครอบครัวไปที่เมือง
Spring, Long Island, New York งเป็นสตูดิโอของเขาด้วย ผลงานของเขาในช่วงนี้
เป็นงานซึ่งเกิดจากการสะบัดสี,การป้ายสี,การหยดสี รวมถึงการราดสีลงบนผืนผ้าใบซึ่งขึงบนผนังหรือพื้น
โดยที่เขาสามารถเดินรอบๆ ผืนผ้านี้เพื่อทำการวาดได้ 1951-1955 งานของเขาในช่วงนี้ใช้สีมืดๆ
บ่อยครั้งที่เขาใช้สีดำเพียงสีเดียว งานของเขาเป็นที่ต้องการของนักสะสมศิลปะเป็นอย่างมาก
1956เขาเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุรถยนต์ที่เมือง Spring, Long Island, New York ในเดือนสิงหาคม โดยมีอายุ 44 ปี
ผลงานที่สำคัญ(1942) "Male and Female" Philadelphia Museum of Art
(1943) "Moon-Woman Cuts the Circle"
(1942) "Stenographic Figure" The Museum of Modern Art
(1943) "The She-Wolf" The Museum of Modern Art
(1943) "Blue (Moby Dick)" Ohara Museum of Art
(1946) "Eyes in the Heat" Peggy Guggenheim Collection, Venice
(1946) "The Key" The Art Institute of Chicago
(1946) "The Tea Cup" Collection Frieder Burda
(1946) "Shimmering Substance", from "The Sounds In The Grass" The Museum of Modern Art
(1947) "Full Fathom Five" The Museum of Modern Art
(1947) "Cathedral"
(1947) "Enchanted Forest" Peggy Guggenheim Collection, Venice
(1948) "Painting"
(1948) "Number 5" (4ft x 8ft)
(1948) "Number 8"
(1948) "Summertime: Number 9A" Tate Modern
(1949) "Number 3"
(1950) "Number 1, 1950 (Lavender Mist)" National Gallery of Art
(1950) "Autumn Rhythm: No.30, 1950"
(1950) "One: No. 31, 1950" at the Museum of Modern Art (MoMA)
(1950) "No. 32"
(1951) "Number 7"
(1952) "Convergence" Albright-Knox Art Gallery
(1952) "Blue Poles: No. 11, 1952"
(1953) "Portrait and a Dream"
(1953) "Easter and the Totem" The Museum of Modern Art
(1953) "Ocean Greyness"
(1953) "The Deep"